วิเคราะห์ปัจจัยเทคนิค
[ ATR ] Average True Range ตามติดความผันผวนของราคา
Technical Indicator 101 #7
ซีรีส์เรียนรู้ไอเดียเบื้องต้นการใช้งาน Technical Indicator
จากไอเดียของโค้ชบาส มือหลักสายกราฟของ Liberator
Technical Indicator 101 #07
ATR (Average True Range)
เป็นเครื่องมือทางเทคนิคที่ไว้วัด “ความผันผวน” ของราคา ซึ่งถูกคิดค้นโดย J. Welles Wilder โดยแต่เดิมจะคำนวณความผันผวนจากช่วง High-Low ของราคาแต่ละแท่งเท่านั้น ทั้งนี้การใช้วิธีในการหาความผันผวนไม่ได้สะท้อนถึงความผันผวนที่แท้จริง จึงคำนวณถึง Gap และความแตกต่างของราคาจากแท่งก่อนหน้าที่เกิดขึ้น เพื่อทราบถึงความผันผวนที่แท้จริง
เป็นเครื่องมือทางเทคนิคที่ไว้วัด “ความผันผวน” ของราคา ซึ่งถูกคิดค้นโดย J. Welles Wilder โดยแต่เดิมจะคำนวณความผันผวนจากช่วง High-Low ของราคาแต่ละแท่งเท่านั้น ทั้งนี้การใช้วิธีในการหาความผันผวนไม่ได้สะท้อนถึงความผันผวนที่แท้จริง จึงคำนวณถึง Gap และความแตกต่างของราคาจากแท่งก่อนหน้าที่เกิดขึ้น เพื่อทราบถึงความผันผวนที่แท้จริง
หลักการใช้งาน
ค่าของ ATR ที่สูงหมายถึง สินทรัพย์นั้นๆ มีความผันผวนสูง
ส่วนค่าที่ต่ำหมายถึง สินทรัพย์นั้นๆ มีความผันผวนต่ำ
ส่วนค่าที่ต่ำหมายถึง สินทรัพย์นั้นๆ มีความผันผวนต่ำ
ข้อควรระวัง
ค่า ATR ของแต่ละสินทรัพย์ให้ค่าไม่เท่ากัน
โดยสินค้าที่คำนวณมีราคาต่ำ เช่น หุ้นราคา 1-10 บาท จะมีค่า ATR น้อยกว่าสินค้าที่มีราคาสูง เช่น หุ้นราคา 100-200 บาท ดังนั้นค่า ATR ที่คำนวณมาแต่ละสินค้า จะไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันตรงๆ ได้ ทำได้เพียงเปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนไหวของ ATR จะดีกว่า
โดยสินค้าที่คำนวณมีราคาต่ำ เช่น หุ้นราคา 1-10 บาท จะมีค่า ATR น้อยกว่าสินค้าที่มีราคาสูง เช่น หุ้นราคา 100-200 บาท ดังนั้นค่า ATR ที่คำนวณมาแต่ละสินค้า จะไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันตรงๆ ได้ ทำได้เพียงเปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนไหวของ ATR จะดีกว่า
สรุป
ATR เป็นเครื่องมือประเภทที่ไว้วัดความผันผวนของราคา สามารถนำมาดูพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาที่เกิดขึ้น ว่าผันผวนมาก หรือ ผันผวนน้อย โดยเทรดเดอร์บางคนนำมาประยุกต์ใช้ในการตั้ง Stop loss ได้เช่นเดียวกัน
มาดูภาพประกอบพร้อมวิธีการใช้งานเครื่องมือ นี้กัน
มาดูภาพประกอบพร้อมวิธีการใช้งานเครื่องมือ นี้กัน
Series TECHNICAL INDICATOR 101
โค้ชบาสเลือกคัดเอา 20 Indicators มาแนะนำมือใหม่ที่เริ่มสนใจศึกษาการใช้กราฟ เพื่อวางแผนการเทรด และ หาไอเดียไว้ประยุกต์ ต่อยอด และ ปรับใช้ ในการวางแผนการเทรด
วิธีที่ดีที่สุด คือ รู้เอาไว้ให้ครบ แล้วเลือกใช้เฉพาะเครื่องมือที่เราเชื่อว่าจะสอดคล้องกับแนวทางของเรา
นี่คือ ลิสต์ 20 Indicators สนใจตัวไหน คลิกที่ชื่อ Indicators นั้นๆ ได้เลย
01 [ 52 Week High/Low ] เช็คจุดสูงสุด - ต่ำสุด ในรอบปี ก่อนเทรดแบบ Break Out
02 [ MACD ] จับเทรนด์ และ หาจังหวะซื้อขาย ด้วย Moving Average Convergence Divergence
03 [ Bollinger Bands ] เครื่องมือวัดความผันผวนของราคาระหว่างแนวโน้ม
04 [ Stochastic ] หาจุดเข้า-ออก เทรดเก็บรอบระยะสั้น
05 [ Parabolic SAR ] รันเทรนด์เมื่อกราฟเกิดแนวโน้มชัดเจน
06 [ ROC ] Rate of Change วัดโมเมนตัมการแกว่งตัวของราคา
07 [ ATR ] Average True Range ตามติดความผันผวนของราคา
08 [ Volume Profile Visible Range ] หาแนวรับ-ต้าน ราคาไหนที่มีนัยยะ
09 [ On Balance Volume ] วัดกระแสเงินไหลเข้าไหลออก และ วัดแรงซื้อ-แรงขายในตลาดการลงทุน
10 [ RSI Overbought/Oversold ] เช็คโมเมนตัม และ จุดนัยยะสำคัญของเทรนด์
11 [ Super Trend Indicator ] มองเทรนด์ออกด้วยเส้นเดียว ก่อนเริ่มวางแผนการเทรด
12 [ DMI ] Directional Movement Indicators ตัวช่วยเช็คความแข็งแกร่งของเทรนด์ที่เกิดขึ้น
13 [ Ichimoku Cloud ] ครบในเครื่องมือเดียว หาแนวโน้มหลัก ระบุแนวรับ-แนวต้าน จบที่หาจังหวะซื้อ-ขาย
14 [ Donchain Channels ] เครื่องมือที่เรียบง่ายสำหรับการระบุแนวโน้มใหม่ ๆ และวัดความผันผวนของตลาด
15 [ Keltner Channels ] กรอบการแกว่งตัว ที่ช่วยกำหนดกลยุทธ์การเทรดตามรูปแบบของเทรนด์
16 [ Zigzag Indicator ] เช็คภาพรวมทิศทางการเคลื่อนตัวของราคา
17 [ Chaikin Oscillator ] ตรวจสอบแรงซื้อ - แรงขาย เพื่อต่อยอดการจับจังหวะเทรด
18 [ William %R ] จับจังหวะรอบ Overbought Oversold เพื่อหาจุดกลับตัว
19 [ Aroon Indicator ] ดูการเริ่มต้นของแนวโน้ม หาช่วงแกว่งตัวออกข้าง และ คาดการณ์การกลับตัว
20 [ Commodity Channel Index ] ดูรอบวัฏจักรการแกว่งตัวของราคา เพื่อจับจังหวะในการเทรด